การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ
การฝึกเพิ่มเติม
- อบรมระยะสั้น สัมมนา
- สื่อต่างๆ
การเข้าใจภาวะปกติ
- เด็กคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
- ครูต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
- รู้จักเด็กแต่ล่ะคน
- มองเด็กให้เป็น
การคัดแยกเด็กที่ทีพัฒนานาการช้า
- การเข้าใจพัฒนานาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย
ความพร้อมของเด็ก
- วุฒิภาวะ
- แรงจูงใจ
- โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ (เมื่อเด็กสังสัยจากกิจกรรมที่ทำ)
- ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
- เด็กเข้าหาครูมากเท่าไรยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น
- (ข้อปฏบัติ)
- ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
- ครูต้องมีความสนใจเด็ก
- ครูต้องใช่เวลาคุยไม่นานไป
- ครูต้องมีอุปกรณ์ล่อใจเด็ก
อุปกรณ์
- มีลักษณะง่ายๆ
- ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
ตารางประจำวัน
- เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยุเป็นประจำ
- กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอน
- เด็กจะรู้สึกปลอดภัย
- คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา
ความยืดหยุ่น
- การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
- ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
การใช้สหวิทยาการ
- ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่น
- การสร้างสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกิจกกรมในชั้นเรียน
เด็กทุกคนสอนได้
- เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
- เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
เทคนิคการให้แรงเสริม
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
- ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
- มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมผู้ใหญ
- ตอบสนองวาจา
- การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
- พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
- สัมผัสทางกาย
การแนะนำหรือบอกบท
- ย่อยงาน
- ลำดับความง่ายยากของงาน
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
- สอนจากง่ายไปยาก
- ไม่ดุหรือตี
- ลดการบอกบท เมื่อเด็กเรียนรู้ที่จะก้าวไปชั้นต่อไป
- งเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง
การประเมิน
ตนเอง
วันนี้ตั้งใจเรียนดี มีการกินอาหารในห้องเรียนบ้างเล็กน้อย
เพื่อน
ตั้งใจเรียนดี มีคุยกันบ้างเป็นบางส่วน
อาจารย์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น