สวัสดีค่ะ

สวัสดีค่ะ

วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

  ไม่มีการเรียนการสอน ค่ะ


                                                              หมายเหตุ*** สอบ


บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

การเรียนการสอนวันนี้

การสอนเด็กพิเศษและเด็กปกติ

การฝึกเพิ่มเติม

  • อบรมระยะสั้น สัมมนา
  • สื่อต่างๆ


การเข้าใจภาวะปกติ

  • เด็กคล้ายคลึงกันมากกว่าแตกต่าง
  • ครูต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ
  • รู้จักเด็กแต่ล่ะคน
  • มองเด็กให้เป็น
การคัดแยกเด็กที่ทีพัฒนานาการช้า
  • การเข้าใจพัฒนานาการของเด็ก จะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคนได้ง่าย
ความพร้อมของเด็ก
  • วุฒิภาวะ
  • แรงจูงใจ
  • โอกาส
การสอนโดยบังเอิญ (เมื่อเด็กสังสัยจากกิจกรรมที่ทำ)
  • ให้เด็กเป็นฝ่ายเริ่ม
  • เด็กเข้าหาครูมากเท่าไรยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขึ้นเท่านั้น
  • (ข้อปฏบัติ) 
  • ครูต้องพร้อมที่จะพบเด็ก
  • ครูต้องมีความสนใจเด็ก
  • ครูต้องใช่เวลาคุยไม่นานไป
  • ครูต้องมีอุปกรณ์ล่อใจเด็ก
อุปกรณ์
  • มีลักษณะง่ายๆ
  • ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
ตารางประจำวัน
  • เด็กพิเศษไม่สามารถยอมรับการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำอยุเป็นประจำ
  • กิจกรรมต้องเรียงลำดับเป็นขั้นตอน
  • เด็กจะรู้สึกปลอดภัย
  • คำนึงถึงความพอเหมาะของเวลา
ความยืดหยุ่น
  • การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถานการณ์
  • ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
การใช้สหวิทยาการ
  • ใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่น
  • การสร้างสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกิจกกรมในชั้นเรียน
เด็กทุกคนสอนได้
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะไร้ความสามารถ
  • เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาส
เทคนิคการให้แรงเสริม
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
  • ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก
  • มีแนวโน้มจะเพิ่มพฤติกรรมที่ดีของเด็ก
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมผู้ใหญ
  • ตอบสนองวาจา
  • การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
  • พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง
  • สัมผัสทางกาย
การแนะนำหรือบอกบท
  • ย่อยงาน
  • ลำดับความง่ายยากของงาน
ขั้นตอนการให้แรงเสริม
  • สอนจากง่ายไปยาก
  • ไม่ดุหรือตี
  • ลดการบอกบท เมื่อเด็กเรียนรู้ที่จะก้าวไปชั้นต่อไป
  • งเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง

การประเมิน

ตนเอง
วันนี้ตั้งใจเรียนดี มีการกินอาหารในห้องเรียนบ้างเล็กน้อย
เพื่อน
ตั้งใจเรียนดี มีคุยกันบ้างเป็นบางส่วน
อาจารย์ 
สอนดีสนุก






วันจันทร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

                                                  วันนี้เซอร์ไพร์วันเกิดอาจารย์


                                                           ภาพความสนุกวันนี้





เค้กจากใจพวกเราปี3.กลุ่มเรียน 103







กิจกรรมร้องในห้องเรียน 



ประสบการณ์การร้องเพลงหน้าห้องเรียน
 วันนี้อาจารย์ให้ไปร้องเพลง ฝึกกายบริหาร 

สิ่งที่ต้องปรับปรุง

1 การจำเนื้อเพลง
2ร้องเพลงให้ตรงจังหวะ 

กิจกรรม
วาดภาพมือ
โดยอาจารย์ให้ใส่ถุงมือข้างหนึ่งแล้วให้วาดภาพข้างที่ใส่ถุงมือ
ประเมิน
ตนเอง
แต่งเรียนบร้อย
เพื่อน
ตั้งใจเรียนดี
อาจารย์
สอนสนุก 

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4


ไม่มีการเรียนการสอน

เหตุหมาย ** เนื่องจากอาจาย์ไปเป็นวิทยากร


วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3


                                                               สิ่งที่เรียนวันนี้



รูปแบบการจัดการศึกษา 

    การศึกษาปกติทั่วไป    (Regular Education) 
การศึกษาพิเศษ         (Special Education)
       การศึกษาแบบเรียนร่วม  (lntegrated Education)
      การศึกษาแบบเรียนรวม  (lnclusive Education)



            การศึกษาแบบเรียนร่วม 
           (lntegrated Education / Mainstreaming) 


 - เป็นการจัดให้เด็กพิเศษเข้าไปในระบบการศึกษาทั่วไป 
    (หลักสูตรเหมือนเดิมไม่เปลี่ยน)
 - มีกิจกรรมที่ให้เด็กพิเศษทำร่วมกันกับเด็กปกติทั่วไป
 - ใช้ช่วงเวลาช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวัน
 - ครูปฐมวัยและครูการศึกษาพิเศษทำงานร่วมกัน 
    (ครูพิเศษเป็นครูที่มาจากโรงเรียนเฉพาะทางของเด็กพิเศษ)



        การเรียนร่วมบางเวลา (lntegration)
         (เข้าไปเรียนแค่ ช่วงใดช่วงหนึ่ง)

- เด็กพิเศษมีโอกาสได้แสดงออกและมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กปกติ
- เด็กพิเศษที่มีความพิการระดับปานกลางถึงระดับมากจึงไม่อาจ
  เรียนร่วมเต็มเวลาได้
- เด็กพิเศษทำกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้ง่ายและเป็นกิจกรรมยอดฮิต


       การเรียนร่วมเต็มเวลา (Mainstreaming)
           (เรียนตั้งแต่เช้าถึงเย็น)

- เป็นการจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปกติตลอดเวลาที่เด้กอยู่ในโรงเรียน
- เด็กพิเศษได้รับการจัดกระบวนการการเรียนรู้และบริการนอกห้องเรียนเหมือนเด็กปกติ
- ระดับอาการระดับน้อยหรืออาจจะปกติในระดับใดระดับหนึ่ง


      ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม 
          (lnclusive Education)

- รับเด็กเข้าเรียนร่วมตั้งแต่เริ่มเข้าการศึกษา 
- จัดให้มีความต้องการพิเศษตามความต้องการของบุคคล
- เด็กพิเศษจะไม่ได้สังกัดอยู่ในความดูแลของศูนย์พิเศษ




ปรัชญาของการเรียนรวม

เด็กปกติต้องเข้าใจว่ามนุษย์เกิดมาไม่เท่าเทียมกันแต่มีสิทธิเท่าเทียมกันทุกคน

'Inclusive  Education is Education for all
 It involves receiving people
at the beginning of their  education,
with provision of additional services
needed by each individual"

การศึกษาแบบเรียนรวมเป็นการศึกษาสำหรับทุกคน
ที่เด็กทุกคนควรได้รับการศึกษาขั้นต้น (เด็กอนุบาล)
เด็กแต่ละคนมีความต้องการต่างกันเฉพาะบุคคลที่
เราต้องจัดให้เหมาะสมกับเด็กเฉพาะบุคคล 



กิจกรรม

วาดภาพเหมือนดอกชบา






การวาดภาพก็เหมือนการสังเกตพฤติกรรมเด็กว่าเด็กแต่ละคนมีข้อดีข้อบกพรอกด้านใดบาง








บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

หมายเหตุ***

 ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก อาจารย์ไม่สบาย







บันทึกอนุทินครั้งที่ 1




เนื้อหาและความรู้ที่ได้รับ

 วันนี้อาจารย์เล่าประสบการณ์การไปปรับปรุงห้องเรียนให้เด็กที่จังหวัด บุรีรัมย์ 
  ทบทวน ข้อสอบปลายภาคที่ผ่านมา เพื่อที่จะทบทวนความรู้ก่อนเรียนว่าจะยังจำ วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ เพื่อที่จะได้เป็นแนวทางในการเรียนวิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย


 









กิจกรรม
ร้องเพลงอนุบาล

เพลง นม
นมเป็นอาหารดี มีคุณค่าต่อร่างกาย
ดื่มแล้วชื่นใจ ร่างกายแข็งแรง
ยังมีนมถั่วเหลือง ดื่มได้ดีและไม่แพง
ดื่มแล้วชื่นใจ ร่างกายแข็งแรง

เพลง อาบน้ำ
อาบน้ำซู่ซ่า ล้างหน้าล้างตา
ฟอกกสบู่ถูตัว ชำระเหงื่อไคล
ราดน้ำให้ทั่ว เสร็จแล้วเช็ดตัว
อย่าให้ขุ่นมัว สุขกายสบายใจ

เพลง แปรงฟัน
ตื่นเช้าเราแปรงฟัน
กินอาหารแล้วเราแปรงฟัน
ก่อนนอนเราแปรงฟัน
ฟันสะอาดขาวเป็นเงางาม
แปรงฟันที่ถูกวิธี ดูซิต้องแปรงขึ้นลง
แปรงฟันที่ถูกวิธี ดูซิต้องแปรงขึ้นลง

เพลง พี่น้องกัน
บ้านของฉันอยู่ด้วยกันมากหลาย
พ่อ แม่ ปู่ย่า ลุง ป้า ตา ยาย
มีทั้งน้า อา พี่และน้องมากมาย
ทุกคนสุขสบาย เราเป็นพี่น้องกัน

เพลง มาโรงเรียน
เรามาโรงเรียน เราเขียนเราอ่าน
ครูเล่านิทานสนุกถูกใจ
เราเรียนเราเล่น เราเป็นสุขใจ
ร่าเริงแจ่มใสเมื่อมาโรงเรียน


หมายเหตุ**
อจารย์ให้กับไปฝึกร้องเพลงเพราะร้องเพลงลงคีร์สุดดด